วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
6 ประเทศเข้าร่วมปฏิบัติธรรมสุดสัปดาห์
ชาวยุโรปกว่า 6 ประเทศเข้าร่วมปฏิบัติธรรมสุดสัปดาห์กับพระภิกษุในพระพุทธศาสนาที่เยอรมัน
ที่เมือง Kleve ประเทศเยอรมัน (ซึ่งเป็นเมืองชายแดนระหว่างเยอรมัน และเนเธอร์แลนด์) พอจ.ได้สอนสมาธิในคอร์สปฏิบัติธรรมสุดสัปดาห์ Inner Peace Weekend ให้กับชาวท้องถิ่นจำนวน 27 คน จาก 6 ประเทศ โดยส่วนใหญ่มาจากประเทศเยอรมัน เนเธอร์แลนด์ และเบลเยียม นอกจากการปฏิบัติธรรมวันละ 4 ครั้งแล้ว พอจ. ยังได้บรรยายหัวข้อธรรมเกี่ยวกับ ความสุข การสร้างนิสัยเพื่อขจัดความทุกข์ และเพิ่มความสุขจากภายในใจ และการฝึกสมาธิเพื่อเพิ่มความสมดุลชีวิต กว่าครึ่งของชาวท้องถิ่น เป็นพีซเอเจนท์ผู้ที่ผ่านการอบรม Global Peace on the Move and Artistic Meditation มาก่อน
In Kleve, Germany, we had an Inner Peace Weekend with 27 people from 7 nationalities (mostly from Germany, the Netherlands and Belgium). The topics were related to the meaning of inner peace happiness, the habit development and how to use meditation to balance your life. Half of the participants are Peace Agents from the previous Global Peace on the Move as well as the artistic meditation fellowships. Could you see familiar faces from the pictures?
Cr. LP John
https://www.facebook.com/patrick0033/posts/370495456708977
วันพุธที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
เด็กนักเรียนฝรั่งนั่งสมาธิ
ในวันที่ 22 พ.ย. พ.ศ. 2560 ได้เดินทางไปสอนสมาธิที่โรงเรียน De Dromedaris มีเด็กนักเรียน 27 คน
ได้สอนเรื่องสมาธิ และพุทธประวัติ รวมถึงอธิบายถึงความหมายของคำว่า เคารพในพระพุทธศาสนา พร้อมกับให้นักเรียนฝึกหัดเขียนข้อดีของพ่อแม่ไว้บนแผ่นกระดาษ ลงท้ายด้วยการสอบถาม
นักเรียนสนใจมาก ได้ซักถามอะไรหลายอย่าง พร้อมกับขอถ่าย selfie กับพระอาจารย์ และเจ้าหน้าที่วัด
แล้วก็ยังได้นัดหมาย นิมนต์ไปเทศน์อีกรอบในสัปดาห์หน้า
..
เครดิต
https://www.facebook.com/DMCtvLondon/posts/1318871354908905
วันพฤหัสบดีที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
วันจันทร์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2560
เด็กดี V-star ร.ร.วัดหนองจอก(ศรีสรรค์พานิช) อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี
เด็กดี V-star ร.ร.วัดหนองจอก(ศรีสรรค์พานิช) อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี ร่วมใจทอดกฐินสัมฤทธิ์ วัดอรัญญาราม(มาบปลาเค้า) ปัจจัยทำบุญมากเกินควรเกินคาด
ที่มา ทวิตเตอร์
https://twitter.com/eosicat/status/925141740411002880
ที่มา ทวิตเตอร์
https://twitter.com/eosicat/status/925141740411002880
วันศุกร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2560
#ถวายพระเพลิงพระบรมศพ Japanese
#พิธีวางดอกไม้จันทน์ ในพระราชพิธี #ถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร 26 ตค. #วัดพระธรรมกายอิบาราขิ
ข่าวคนไทยอิบารขิญี่ปุ่น #พิธีวางดอกไม้จันทน์ ในพระราชพิธี
ขอบคุณพิเศษภาพข่าวจาก ทวิตเตอร์
https://twitter.com/Psanitwong
วันพุธที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2560
วันอังคารที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2560
วันอาทิตย์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2560
เด็กและกฐิน
รร.บ้านผักหนาม ร่วมแห่กฐินสัมฤทธิ์ เด็กดี V-STAR กับชุมชนบ้านผักหนาม ทอดที่วัดผักหนาม อ.กระนวน จ.ขอนแก่น 21 ตค. 60
#กฐินสัมฤทธิ์ #เด็กดี V-star รร.หนองกรดพิทยคม ทอด ณ วัดธรรมจริยาวาส จ.นครสวรรค์ 25ตค.60 ปีนี้เป็นปีที่10 ที่นร.ทั่วประเทศจัดทอดกฐินสัมฤทธิ์
ขอบคุณภาพและข่าวจากทวิเตอร์
https://twitter.com/eosicat/status/924818111617908736
#กฐินสัมฤทธิ์ #เด็กดี V-star รร.หนองกรดพิทยคม ทอด ณ วัดธรรมจริยาวาส จ.นครสวรรค์ 25ตค.60 ปีนี้เป็นปีที่10 ที่นร.ทั่วประเทศจัดทอดกฐินสัมฤทธิ์
ขอบคุณภาพและข่าวจากทวิเตอร์
https://twitter.com/eosicat/status/924818111617908736
วันเสาร์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2560
ภาพดรุณธรรม
วัยรุ่น วัยสร้างบุญ.. #กฐินสัมฤทธิ์
วัยรุ่น วัยสร้างบุญ #กฐินสัมฤทธิ์ เด็กดี V-Star รร.อำนาจเจริญ ทอด ณ วัดป่าศรีสุขเกษม(ธ) ต.โนนโพธิ์ อ.เมือง จ.อำนาจเจริญ เสาร์ 21 ตค. 60
ขอบคุณภาพ ดรุณธรรม
https://twitter.com/eosicat/status/921671747119718400?s=06
วันจันทร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2560
รีวิวภาษาไทยที่มักเขียนผิด คำไทย รู้ไว้มีค่า (5)
คำไทย รู้ไว้มีค่า
วันนี้เอาคำทับศัพท์ที่มักเขียนผิดมาฝากอีกแล้วครับ
เปอร์เซ็นต์ VS เปอร์เซนต์
คำที่ถูก => เปอร์เซ็นต์
คำที่ผิด => เปอร์เซนต์
เปอร์เซ็นต์ มาจากภาษาอังกฤษครับสะกดว่า percent ส่วนภาษาไทยใช้คำว่า อัตราร้อยละ จะเขียนก็ยาวนะครับ จึงใช้เครื่องหมายเปอร์เซ็นต์ [%] ในการเขียนเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามเมื่อถึงเวลาต้องสะกดก็อย่าลืมนะครับ คำว่า เปอร์ ต้องไม่มี “ไม้ไต่คู้” (ตัวที่เหมือนเลขแปดไทยนั่นล่ะครับ) แต่คำว่า เซ็นต์ ต้องใส่ “ไม้ไต่คู้” ด้วยนะครับ
ดาวน์ VS ดาว์น, ดาว
คำที่ถูก => ดาวน์
คำที่ผิด => ดาว์น, ดาว
ดาวน์ คำนี้มาจาก Down ในภาษาอังกฤษ โดยปกติก็แปลว่า ลง ตกสู่เบื้องล่าง หรือถ้าคนไทยจะคุ้นๆ กับคำทับศัพท์นี้เวลาซื้อสินค้าที่มีราคาสูงต้องแบ่งชำระเป็นงวดๆ คำว่า “ดาวน์” นี้จะแปลว่า การชำระเงินงวดแรกนั่นเอง นอกจากนี้ก็อาจจะคุ้นเคยกับภาษาคอมพิวเตอร์ เช่นคำว่า ดาวน์โหลด Download ซึ่งเป็นขั้นตอนการบรรจุลงของข้อมูล ก็จะสะกดว่า “ดาวน์” เช่นกันครับ ต้องมี “นอ หนู-การันต์” ด้วยนะ ถ้าไม่มีจะกลายเป็นดาว ที่ออกนอกอวกาศไปนู่น
คอลัมน์ VS คอลัมภ์, คอลัมม์
คำที่ถูก => คอลัมน์
คำที่ผิด => คอลัมภ์, คอลัมม์
คอลัมน์ มาจากคำว่า column ในภาษาอังกฤษเช่นกันครับ ใช้ “นอ หนู-การันต์” นะ ส่วนมากเราได้ยินคำว่า คอลัมน์ จากหนังสือประเภทหนังสือพิมพ์ วารสาร หรือนิตยสาร ที่แปลว่า บทความ เช่น คอลัมน์สังคม คอลัมน์กีฬา เป็นต้น แต่โดยปกติแล้ว คอลัมน์ แปลว่า แถว แนว การแบ่งเป็นแถว ดังนั้น บทความในสิ่งพิมพ์เหล่านั้น เรียงพิมพ์เป็นแนว เป็นแถว จึงถูกเรียกว่า คอลัมน์ เช่นกันครับ
มาฝึกเขียนประโยคกันครับ ลองแต่งประโยค โดยใช้ 3 คำด้านบนกันดูนะครับ
_____________
รู้ไว้ใช่ว่า เกมก่อนเพล วันที่ 15 สิงหาคม 2560
วันนี้เอาคำทับศัพท์ที่มักเขียนผิดมาฝากอีกแล้วครับ
เปอร์เซ็นต์ VS เปอร์เซนต์
คำที่ถูก => เปอร์เซ็นต์
คำที่ผิด => เปอร์เซนต์
เปอร์เซ็นต์ มาจากภาษาอังกฤษครับสะกดว่า percent ส่วนภาษาไทยใช้คำว่า อัตราร้อยละ จะเขียนก็ยาวนะครับ จึงใช้เครื่องหมายเปอร์เซ็นต์ [%] ในการเขียนเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามเมื่อถึงเวลาต้องสะกดก็อย่าลืมนะครับ คำว่า เปอร์ ต้องไม่มี “ไม้ไต่คู้” (ตัวที่เหมือนเลขแปดไทยนั่นล่ะครับ) แต่คำว่า เซ็นต์ ต้องใส่ “ไม้ไต่คู้” ด้วยนะครับ
ดาวน์ VS ดาว์น, ดาว
คำที่ถูก => ดาวน์
คำที่ผิด => ดาว์น, ดาว
ดาวน์ คำนี้มาจาก Down ในภาษาอังกฤษ โดยปกติก็แปลว่า ลง ตกสู่เบื้องล่าง หรือถ้าคนไทยจะคุ้นๆ กับคำทับศัพท์นี้เวลาซื้อสินค้าที่มีราคาสูงต้องแบ่งชำระเป็นงวดๆ คำว่า “ดาวน์” นี้จะแปลว่า การชำระเงินงวดแรกนั่นเอง นอกจากนี้ก็อาจจะคุ้นเคยกับภาษาคอมพิวเตอร์ เช่นคำว่า ดาวน์โหลด Download ซึ่งเป็นขั้นตอนการบรรจุลงของข้อมูล ก็จะสะกดว่า “ดาวน์” เช่นกันครับ ต้องมี “นอ หนู-การันต์” ด้วยนะ ถ้าไม่มีจะกลายเป็นดาว ที่ออกนอกอวกาศไปนู่น
คอลัมน์ VS คอลัมภ์, คอลัมม์
คำที่ถูก => คอลัมน์
คำที่ผิด => คอลัมภ์, คอลัมม์
คอลัมน์ มาจากคำว่า column ในภาษาอังกฤษเช่นกันครับ ใช้ “นอ หนู-การันต์” นะ ส่วนมากเราได้ยินคำว่า คอลัมน์ จากหนังสือประเภทหนังสือพิมพ์ วารสาร หรือนิตยสาร ที่แปลว่า บทความ เช่น คอลัมน์สังคม คอลัมน์กีฬา เป็นต้น แต่โดยปกติแล้ว คอลัมน์ แปลว่า แถว แนว การแบ่งเป็นแถว ดังนั้น บทความในสิ่งพิมพ์เหล่านั้น เรียงพิมพ์เป็นแนว เป็นแถว จึงถูกเรียกว่า คอลัมน์ เช่นกันครับ
มาฝึกเขียนประโยคกันครับ ลองแต่งประโยค โดยใช้ 3 คำด้านบนกันดูนะครับ
_____________
รู้ไว้ใช่ว่า เกมก่อนเพล วันที่ 15 สิงหาคม 2560
วันพุธที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2560
รีวิวภาษาไทยที่มักเขียนผิด คำไทย รู้ไว้มีค่า (4)
คำไทย รู้ไว้มีค่า
อนาถ VS อนาจ
คำที่ถูก => อนาถ
คำที่ผิด => อนาจ
อนาถ มีความหมายว่า น่าสงสาร น่าสังเวช สลดใจ ต้องสะกดด้วย “ถ ถุง” คำว่า อเนจอนาถ ก็นิยมใช้ แปลว่า น่าสลดใจสังเวชอย่างยิ่ง
พิสมัย VS พิศมัย
คำที่ถูก => พิสมัย
คำที่ผิด => พิศมัย, พิษมัย
พิสมัย แปลว่า ความรัก ความชื่นชม มักจะถูกสะกดด้วย “ศ ศาลา” หรือผิดอย่างหนักก็สะกดด้วย “ษ ฤๅษี” ซึ่งไม่มีความหมายทั้งคู่ ที่ถูกต้องคือ พิสมัย สะกดด้วย “ส เสือ” ครับ
กระทันหัน VS กะทันหัน
คำที่ถูก => กะทันหัน
คำที่ผิด => กระทันหัน
เรามักจะคุ้นเคยกับคำที่มี “กระ” นำหน้า ทำให้หลายๆ คนสะกดคำว่า กะทันหันให้มี “ร เรือ” ควบกล้ำไปด้วย ซึ่งจะกลายเป็นคนผิดไปเลย จำง่ายๆ ว่า กะทันหัน คือ ทันที ไม่ต้องมีเรือพ่วงไปด้วยหรอกนะ
คำไทย รู้ไว้มีค่า
มาฝึกเขียนประโยคกันครับ ลองแต่งประโยค โดยใช้ 3 คำด้านบนมาผูกเป็นเรื่องเดียวกันดูนะครับ
_______________
ขอบคุณพิเศษ รู้ไว้ใช่ว่า เกมก่อนเพล วันที่ 10 สิงหาคม 2560
อนาถ VS อนาจ
คำที่ถูก => อนาถ
คำที่ผิด => อนาจ
อนาถ มีความหมายว่า น่าสงสาร น่าสังเวช สลดใจ ต้องสะกดด้วย “ถ ถุง” คำว่า อเนจอนาถ ก็นิยมใช้ แปลว่า น่าสลดใจสังเวชอย่างยิ่ง
พิสมัย VS พิศมัย
คำที่ถูก => พิสมัย
คำที่ผิด => พิศมัย, พิษมัย
พิสมัย แปลว่า ความรัก ความชื่นชม มักจะถูกสะกดด้วย “ศ ศาลา” หรือผิดอย่างหนักก็สะกดด้วย “ษ ฤๅษี” ซึ่งไม่มีความหมายทั้งคู่ ที่ถูกต้องคือ พิสมัย สะกดด้วย “ส เสือ” ครับ
กระทันหัน VS กะทันหัน
คำที่ถูก => กะทันหัน
คำที่ผิด => กระทันหัน
เรามักจะคุ้นเคยกับคำที่มี “กระ” นำหน้า ทำให้หลายๆ คนสะกดคำว่า กะทันหันให้มี “ร เรือ” ควบกล้ำไปด้วย ซึ่งจะกลายเป็นคนผิดไปเลย จำง่ายๆ ว่า กะทันหัน คือ ทันที ไม่ต้องมีเรือพ่วงไปด้วยหรอกนะ
คำไทย รู้ไว้มีค่า
มาฝึกเขียนประโยคกันครับ ลองแต่งประโยค โดยใช้ 3 คำด้านบนมาผูกเป็นเรื่องเดียวกันดูนะครับ
_______________
ขอบคุณพิเศษ รู้ไว้ใช่ว่า เกมก่อนเพล วันที่ 10 สิงหาคม 2560
วันอังคารที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
รีวิว คำไทยที่มักเขียนผิด คำไทย รู้ไว้มีค่า (3)
บุคคลากร VS บุคลากร
คำที่ถูก => บุคลากร
คำที่ผิด => บุคคลากร
ส่วนใหญ่จะสับสนกับคำว่า บุคคล ซึ่งต้องมี “ค ควาย” 2 ตัว แต่คำว่า บุคลากร มี “ค ควาย” เพียงแค่ตัวเดียวนะ
สังเกต VS สังเกตุ
คำที่ถูก => สังเกต
คำที่ผิด => สังเกตุ
สังเกต เป็นอีกคำยอดที่นิยมที่มักสะกดผิด ต้องจำแม่นๆ นะครับ สังเกต ไม่มี “สระอุ” ครับ
สัมมนา VS สัมนา
คำที่ถูก => สัมมนา
คำที่ผิด => สัมนา
คำว่า สัมมนา แปลว่า การประชุมทางวิชาการเพื่อปรึกษาหารือในการดำเนินงานอย่างใดอย่างหนึ่ง มาจากคำว่า seminar ในภาษาอังกฤษ สะกดให้ถูกต้องของแท้ต้องมี “ม ม้า” 2 ตัวนะครับ
มาฝึกเขียนประโยคกันครับ ลองใช้คำทั้ง 3 คำด้านบน มาแต่งเป็นประโยคกันดูนะครับ
_______________
ขอบคุณภาพและบทความจาก รู้ไว้ใช่ว่า เกมก่อนเพล วันที่ 8 สิงหาคม 2560
คำที่ถูก => บุคลากร
คำที่ผิด => บุคคลากร
ส่วนใหญ่จะสับสนกับคำว่า บุคคล ซึ่งต้องมี “ค ควาย” 2 ตัว แต่คำว่า บุคลากร มี “ค ควาย” เพียงแค่ตัวเดียวนะ
สังเกต VS สังเกตุ
คำที่ถูก => สังเกต
คำที่ผิด => สังเกตุ
สังเกต เป็นอีกคำยอดที่นิยมที่มักสะกดผิด ต้องจำแม่นๆ นะครับ สังเกต ไม่มี “สระอุ” ครับ
สัมมนา VS สัมนา
คำที่ถูก => สัมมนา
คำที่ผิด => สัมนา
คำว่า สัมมนา แปลว่า การประชุมทางวิชาการเพื่อปรึกษาหารือในการดำเนินงานอย่างใดอย่างหนึ่ง มาจากคำว่า seminar ในภาษาอังกฤษ สะกดให้ถูกต้องของแท้ต้องมี “ม ม้า” 2 ตัวนะครับ
มาฝึกเขียนประโยคกันครับ ลองใช้คำทั้ง 3 คำด้านบน มาแต่งเป็นประโยคกันดูนะครับ
_______________
ขอบคุณภาพและบทความจาก รู้ไว้ใช่ว่า เกมก่อนเพล วันที่ 8 สิงหาคม 2560
วันเสาร์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2560
รีวิวภาษาไทยที่มักเขียนผิด คำไทย รู้ไว้มีค่า ที่2
คำไทย รู้ไว้มีค่า
เกสร VS เกษร
คำที่ถูก => เกสร
คำที่ผิด => เกษร
เกสร คือ ส่วนในของดอกไม้ เกสรดอกไม้ สะกดด้วย “ส เสือ” นะครับ จึงจะเป็นคำที่ถูกต้อง
ตำหรับ VS ตำรับ
คำที่ถูก => ตำรับ
คำที่ผิด => ตำหรับ
คำว่า ตำรับ มีความหมายว่า ตำรำ หรือ คู่มือ แม้จะสะกดว่า ตำรับ แต่เวลาอ่านให้ออกเสียงว่า ตำ-หรับ นะครับ อย่าไปจำสลับกันเชียวล่ะ
บิดพริ้ว VS บิดพลิ้ว
คำที่ถูก => บิดพลิ้ว
คำที่ผิด => บิดพริ้ว
บิดพลิ้ว แปลว่า หลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือการปฏิบัติไม่ตรงตามข้อตกลง คำนี้มักสะกดสับสนกับคำว่า “พลิ้ว” ที่ใช้ “ร เรือ” ควบกล้ำที่มีความหมายว่า สั่นไหว หรือโบกไหว ซึ่งที่ถูกต้องจะสะกดว่า บิดพลิ้ว นะครับ
มาฝึกเขียนประโยคกันครับ ลองใช้คำทั้ง 3 คำด้านบน มาแต่งเป็นประโยคโดยผูกเป็นเรื่องราวเดียวกันดูนะครับ
เกสร VS เกษร
คำที่ถูก => เกสร
คำที่ผิด => เกษร
เกสร คือ ส่วนในของดอกไม้ เกสรดอกไม้ สะกดด้วย “ส เสือ” นะครับ จึงจะเป็นคำที่ถูกต้อง
ตำหรับ VS ตำรับ
คำที่ถูก => ตำรับ
คำที่ผิด => ตำหรับ
คำว่า ตำรับ มีความหมายว่า ตำรำ หรือ คู่มือ แม้จะสะกดว่า ตำรับ แต่เวลาอ่านให้ออกเสียงว่า ตำ-หรับ นะครับ อย่าไปจำสลับกันเชียวล่ะ
บิดพริ้ว VS บิดพลิ้ว
คำที่ถูก => บิดพลิ้ว
คำที่ผิด => บิดพริ้ว
บิดพลิ้ว แปลว่า หลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือการปฏิบัติไม่ตรงตามข้อตกลง คำนี้มักสะกดสับสนกับคำว่า “พลิ้ว” ที่ใช้ “ร เรือ” ควบกล้ำที่มีความหมายว่า สั่นไหว หรือโบกไหว ซึ่งที่ถูกต้องจะสะกดว่า บิดพลิ้ว นะครับ
มาฝึกเขียนประโยคกันครับ ลองใช้คำทั้ง 3 คำด้านบน มาแต่งเป็นประโยคโดยผูกเป็นเรื่องราวเดียวกันดูนะครับ
วันพฤหัสบดีที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560
รีวิว ภาษาไทยที่มักเขียนผิด คำไทย รู้ไว้มีค่า ที่1
คำไทย รู้ไว้มีค่า
ขะมักเขม้น VS ขมักเขม้น
คำที่ถูก => ขะมักเขม้น
คำที่ผิด => ขมักเขม้น
คำนี้แต่เดิมอ่านออกเสียงว่า ขะ-มัก-ขะ-เม่น แต่ปัจจุบันก็อนุโลมให้ออกเสียงว่า ขะ-หมัก-ขะ-เม่น ได้ แต่การสะกดยังคงเดิม คือ มีสระอะ แค่ ข. ไข่ ตัวหน้าเท่านั้นนะครับ
อนุญาติ VS อนุญาต
คำที่ถูก => อนุญาต
คำที่ผิด => อนุญาติ
อนุญาตเป็นคำยอดฮิตสะกดผิดทั่วประเทศอีกหนึ่งคำ อาจจะเพราะการชินกับคำว่า "ญาติ" ซึ่งที่จริงก็ไม่ได้เกี่ยวข้องกันสักนิด ในเมื่อไม่เกี่ยวข้องก็ไม่ใช่ญาติ ดังนั้น ก็ไม่ต้องเติม "สระอิ" ไงล่ะ เหตุผลแบบนี้ดีไหมล่ะ ฮ่าๆ
หลงใหล VS หลงไหล
คำที่ถูก => หลงใหล
คำที่ผิด => หลงไหล
คำนี้ก็เป็นอีกหนึ่งคำ ที่มักใช้เคยชินของอีกคำหนึ่งมาสะกดบ่อยๆ คือคำว่า ไหล แต่คำว่า หลงใหล ต้องใช้ สระไอ-ไม้ม้วน สะกดเท่านั้นครับ
มาฝึกเขียนประโยคกันครับ ลองใช้คำทั้ง 3 คำด้านบน มาแต่งเป็นประโยคกันดูนะครับ
___________
ขอบคุณพิเศษ เวบ รู้ไว้ใช่ว่า เกมก่อนเพล วันที่ 3 สิงหาคม 2560
ขะมักเขม้น VS ขมักเขม้น
คำที่ถูก => ขะมักเขม้น
คำที่ผิด => ขมักเขม้น
คำนี้แต่เดิมอ่านออกเสียงว่า ขะ-มัก-ขะ-เม่น แต่ปัจจุบันก็อนุโลมให้ออกเสียงว่า ขะ-หมัก-ขะ-เม่น ได้ แต่การสะกดยังคงเดิม คือ มีสระอะ แค่ ข. ไข่ ตัวหน้าเท่านั้นนะครับ
อนุญาติ VS อนุญาต
คำที่ถูก => อนุญาต
คำที่ผิด => อนุญาติ
อนุญาตเป็นคำยอดฮิตสะกดผิดทั่วประเทศอีกหนึ่งคำ อาจจะเพราะการชินกับคำว่า "ญาติ" ซึ่งที่จริงก็ไม่ได้เกี่ยวข้องกันสักนิด ในเมื่อไม่เกี่ยวข้องก็ไม่ใช่ญาติ ดังนั้น ก็ไม่ต้องเติม "สระอิ" ไงล่ะ เหตุผลแบบนี้ดีไหมล่ะ ฮ่าๆ
หลงใหล VS หลงไหล
คำที่ถูก => หลงใหล
คำที่ผิด => หลงไหล
คำนี้ก็เป็นอีกหนึ่งคำ ที่มักใช้เคยชินของอีกคำหนึ่งมาสะกดบ่อยๆ คือคำว่า ไหล แต่คำว่า หลงใหล ต้องใช้ สระไอ-ไม้ม้วน สะกดเท่านั้นครับ
มาฝึกเขียนประโยคกันครับ ลองใช้คำทั้ง 3 คำด้านบน มาแต่งเป็นประโยคกันดูนะครับ
___________
ขอบคุณพิเศษ เวบ รู้ไว้ใช่ว่า เกมก่อนเพล วันที่ 3 สิงหาคม 2560
วันจันทร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2560
เธอคืออาจารย์ให้ความรู้พระและสามเณร
เธอถูกกล่าวหาว่าเป็นอั้งยี่..!!📢
ดูหน้าตา อั้งยี่ นะ
สวย ใส ใจเป็นพระ
มีหน้าที่ถวายความรู้ สอนหนังสือ ภิกษุ สามเณร
ว่างๆก็ ปฏิบัติตัวตามวิธีชาวพุทธ
ทำบุญ ทำทาน นั่งสมาธิ เข้าวัดฟังธรรม
ดูความหมายของอั้งยี่แล้ว..
ผู้ถูกกล่าวหาจะเป็นอั้งยี่ได้ยังงัย??
ขอความเป็นธรรมให้เธอด้วย!!
📍อั้งยี่📍
คือ คณะบุคคล หรือกลุ่มบุคคล ปกปิดวิธีดำเนินการและมีความมุ่งหมายเพื่อการอันมิชอบด้วยกฎหมาย แต่ถ้า 5คนขึ้นไปจะกลายเป็นซ่องโจร
ซึ่งการเป็นสมาชิกของอั้งยี่ก็ถือว่าผิดกฎหมายแล้ว แม้จะยังไม่ได้กระทำความผิดก็ตาม
มาตรา 209 “ผู้ใดเป็นสมาชิกคณะบุคคล เพื่อปกปิดวิธีดำเนินการและมีความมุ่งหมาย เพื่อการอันมิชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นกระทำความผิดฐานเป็นอั้งยี่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นสี่พันบาท
ถ้าผู้กระทำความผิด เป็นหัวหน้า ผู้จัดการ หรือผู้มีตำแหน่งหน้าที่ในคณะบุคคลนั้น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 20,000 บาท”
สรุปง่ายๆคือ บุคคลตั้งแต่3คนขึ้นไม่แต่ไม่ถึง5คน รวมตัวกันเพื่อกระทำการอันมิชอบด้วยกฎหมาย และปกปิดมิให้ใครรู้
ปกปิดวิธีดำเนินการ หมายถึง รู้กันในหมู่สมาชิกไม่เปิดเผยแก่บุคคลอื่น เช่น ใช้นิ้วแสดงเป็นเครื่องหมายลับ โดยรู้กันในหมู่สมาชิก ( คำพิพากษาฎีกาที่ 124/2457,301-303/2470)
Cr.Tan Tan
เส้นทางบุญ
@Pathofboon
ดูหน้าตา อั้งยี่ นะ
สวย ใส ใจเป็นพระ
มีหน้าที่ถวายความรู้ สอนหนังสือ ภิกษุ สามเณร
ว่างๆก็ ปฏิบัติตัวตามวิธีชาวพุทธ
ทำบุญ ทำทาน นั่งสมาธิ เข้าวัดฟังธรรม
ดูความหมายของอั้งยี่แล้ว..
ผู้ถูกกล่าวหาจะเป็นอั้งยี่ได้ยังงัย??
ขอความเป็นธรรมให้เธอด้วย!!
📍อั้งยี่📍
คือ คณะบุคคล หรือกลุ่มบุคคล ปกปิดวิธีดำเนินการและมีความมุ่งหมายเพื่อการอันมิชอบด้วยกฎหมาย แต่ถ้า 5คนขึ้นไปจะกลายเป็นซ่องโจร
ซึ่งการเป็นสมาชิกของอั้งยี่ก็ถือว่าผิดกฎหมายแล้ว แม้จะยังไม่ได้กระทำความผิดก็ตาม
มาตรา 209 “ผู้ใดเป็นสมาชิกคณะบุคคล เพื่อปกปิดวิธีดำเนินการและมีความมุ่งหมาย เพื่อการอันมิชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นกระทำความผิดฐานเป็นอั้งยี่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นสี่พันบาท
ถ้าผู้กระทำความผิด เป็นหัวหน้า ผู้จัดการ หรือผู้มีตำแหน่งหน้าที่ในคณะบุคคลนั้น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 20,000 บาท”
สรุปง่ายๆคือ บุคคลตั้งแต่3คนขึ้นไม่แต่ไม่ถึง5คน รวมตัวกันเพื่อกระทำการอันมิชอบด้วยกฎหมาย และปกปิดมิให้ใครรู้
ปกปิดวิธีดำเนินการ หมายถึง รู้กันในหมู่สมาชิกไม่เปิดเผยแก่บุคคลอื่น เช่น ใช้นิ้วแสดงเป็นเครื่องหมายลับ โดยรู้กันในหมู่สมาชิก ( คำพิพากษาฎีกาที่ 124/2457,301-303/2470)
Cr.Tan Tan
เส้นทางบุญ
@Pathofboon
วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2560
วันพุธที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2560
ภาพยอดเยี่ยมจาก เดอะการ์เดียน ประเทศอังกฤษ
เดอะการ์เดียน ประเทศอังกฤษ
เลือกภาพพุทธบุตรธรรมยาตรา เป็นหนึ่งในภาพยอดเยี่ยมประจำสัปดาห์ซึ่งรวบรวมจากทั่วโลก
เลือกภาพพุทธบุตรธรรมยาตรา เป็นหนึ่งในภาพยอดเยี่ยมประจำสัปดาห์ซึ่งรวบรวมจากทั่วโลก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)